{{ 'fb_in_app_browser_popup.desc' | translate }} {{ 'fb_in_app_browser_popup.copy_link' | translate }}

{{ 'in_app_browser_popup.desc' | translate }}

Welcome

วิทยาศาสตร์ กับ ความหนาแน่น แสนสนุก การทดลอง ที่ทำเองได้ง่ายๆ

วิทยาศาสตร์ กับ ความหนาแน่น แสนสนุก การทดลอง ที่ทำเองได้ง่ายๆ

{{shoplineProductReview.avg_score}} {{'product.product_review.stars' | translate}} | {{shoplineProductReview.total}} {{'product.product_review.reviews' | translate}}
{{amazonProductReview.avg_rating}} {{'product.product_review.stars' | translate}} | {{amazonProductReview.total_comment_count}} {{'product.product_review.reviews' | translate}}
ปริมาณ จำนวนเซ็ตสินค้า
ปริมาณสูงสุดต่อการส่งออเดอร์คือ99999
ปริมาณนี้ไม่ถูกต้อง โปรดใส่ปริมาณที่ถูกต้อง
หมด

ของไม่เพียงพอ สินค้าของคุณยังไม่ถูกเพิ่มไปที่ตะกร้าสินค้า

ของไม่เพียงพอ โปรดปรับปริมาณของคุณ

{{'products.quick_cart.out_of_number_hint'| translate}}

{{'product.preorder_limit.hint'| translate}}

อนุญาตเพียง {{ product.max_order_quantity }} รายการต่อออเดอร์เท่านั้นสำหรับการสั่งซื้อ

เหลือเพียง {{ quantityOfStock }} รายการ เท่านั้นในสินค้าคงคลัง

โปรดส่งข้อความหาเจ้าของร้านค้าสำหรับรายละเอียดการสั่งซื้อ
คำอธิบาย
เลือกวิธีการจัดส่งและการชำระเงิน
รีวิวจากลูกค้า
คำอธิบาย

ติดต่อสอบถาม คอร์สเรียนวิทยาศาสตร์  Scientia ได้ที่..

 


การทดลองความหนาแน่นแสนสนุก

น้องๆ เคยสังเกตมั้ยว่า
ทำไมเรือที่มีขนาดใหญ่ถึงลอยอยู่บนน้ำได้

ทั้งๆ ที่มีโครงสร้างที่ทำมาจากเหล็ก ถ้าหากเรามองด้วยตาเปล่า อะไรก็ตามที่ทำมาจากเหล็ก หรือ มีน้ำหนักมาก มันควรจะจมถูกมั้ย?


แต่…..เรือ กลับสามารถลอยบนน้ำทะเลได้ แถมยังสัมภาระเต็มเรือไปหมด เกิดจากอะไร?? 
ซึ่งแท้ที่จริงแล้ว มีหลักการของอาร์คิมิดีส (บันทึก On Floating Bodies 250 ปีก่อนคริสตกาล) 


ความหนาแน่น คืออะไร

เค้าบอกว่าเมื่อนำวัตถุลงไปแทนที่ของเหลว จะมีแรงต้านเท่ากับน้ำหนักของของเหลวปริมาตรเท่าส่วนจม จากหลักการนี้ ทำให้เข้าใจในหลักการหลายอย่าง เช่น เรือเหล็กทำไมจึงลอยน้ำ ของเหลวต่างชนิดกันมีความหนาแน่นต่างกัน อาร์คีมีดีส ชี้ให้เห็นถึงเรื่องความหนาแน่นและนำมาเทียบกับน้ำเรียกว่า “ความถ่วงจำเพาะ” 

Cr.Scimth.org

.

ถ้าจะพูดให้ฟังเข้าใจง่ายๆ หลักการ ก็คือ 

.

– วัสดุที่มี ความหนาแน่น รวมน้อยกว่า น้ำ “จะลอยน้ำ”
– วัสดุที่มี ความหนาแน่น รวมมากกว่า น้ำ “จะจมน้ำ”

ดังนั้น เพื่อทำให้น้องๆ ได้เห็นภาพชัดขึ้น ผ่านชุดทดลอง ที่มีชื่อว่า “จมหรือลอย” เพื่อไปค้นหาและพิสูจน์ด้วยตัวของ น้องๆ เอง นะคะ

.

อุปกรณ์มีดังนี้ :

.

  1. อ่างแก้วใส่น้ำ
  2. อุปกรณ์ทดสอบการลอย-จม เช่น หินปูนหินพัมมิชลูกโฟมดินน้ำมันก้อนลูกบาศก์ดินน้ำมันก้อนกลม

.

วิธีทดลอง :

  1. ให้น้องๆ ลองทายกันเล่นๆ ว่าอุปกรณ์เหล่านี้ จะจมหรือลอย (โดยการหย่อนอุปกรณ์ลงไป)

         – หินปูน 

         – หินพัมมิช

         – ดินน้ำมันก้อนลูกบาศก์

         – ลูกโฟม 

        (โดยการหย่อนอุปกรณ์ลงไปในน้ำ ให้หย่อนทีละชนิด แล้วสังเกตผล )

  1. น้ำดินน้ำมันปั้นเป็นก้อน เท่าลูกโฟมแล้วหย่อนลงน้ำ สังเกตว่า “ลอยหรือจม”

  1. นำดินน้ำมันจากข้อ 2. ปั้นเป็นทรงเรือแล้วหย่อนลง เช่นกัน สังเกตว่า “ลอยหรือจม”

.

Trick!! วิธีการเล่นให้สนุกมากยิ่งขึ้น

โดย วิธีการทำให้ความหนาแน่นรวมของวัสดุลดลง คือ การเติมอากาศเข้าไป

.

ผลการทดลอง :

วัสดุที่ลอยน้ำ ได้แก่ หินพัมมิชลูกโฟมดินน้ำมันรูปเรือ

.

สรุปผลการทดลอง :

วัสดุที่มีความหนาแน่นรวมน้อยกว่าน้ำ ได้แก่ หินพัมมิชลูกโฟมดินน้ำมันรูปเรือ “สามารถลอยน้ำได้”

.

เด็กๆ ลองนำการทดลองนี้ไปพิสูจน์กันดู ได้ผลการทดลองอย่างไรมาแชร์กันได้นะคะ สามารถนำวัสดุอย่างอื่นที่อยู่รอบๆ ตัวเรามาทดลองเพิ่มเติมได้เลย เพราะวิทยาศาสตร์อยู่รอบๆ ตัวเรานะคะ

.

คอร์สในห้องเรียนซายเอนเทีย


คอร์สเรียนออนไลน์จากซายเอนเทีย


    เลือกวิธีการจัดส่งและการชำระเงิน

    ตัวเลือกการจัดส่ง

    ตัวเลือกการชำระเงิน

    รีวิวจากลูกค้า
    {{'product.product_review.no_review' | translate}}