{{ 'fb_in_app_browser_popup.desc' | translate }} {{ 'fb_in_app_browser_popup.copy_link' | translate }}

{{ 'in_app_browser_popup.desc' | translate }}

Welcome

สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ ปริซึม เส้นทางของแสงสีรุ้ง

สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ ปริซึม เส้นทางของแสงสีรุ้ง

{{shoplineProductReview.avg_score}} {{'product.product_review.stars' | translate}} | {{shoplineProductReview.total}} {{'product.product_review.reviews' | translate}}
{{amazonProductReview.avg_rating}} {{'product.product_review.stars' | translate}} | {{amazonProductReview.total_comment_count}} {{'product.product_review.reviews' | translate}}
ปริมาณ จำนวนเซ็ตสินค้า
ปริมาณสูงสุดต่อการส่งออเดอร์คือ99999
ปริมาณนี้ไม่ถูกต้อง โปรดใส่ปริมาณที่ถูกต้อง
หมด

ของไม่เพียงพอ สินค้าของคุณยังไม่ถูกเพิ่มไปที่ตะกร้าสินค้า

ของไม่เพียงพอ โปรดปรับปริมาณของคุณ

{{'products.quick_cart.out_of_number_hint'| translate}}

{{'product.preorder_limit.hint'| translate}}

อนุญาตเพียง {{ product.max_order_quantity }} รายการต่อออเดอร์เท่านั้นสำหรับการสั่งซื้อ

เหลือเพียง {{ quantityOfStock }} รายการ เท่านั้นในสินค้าคงคลัง

โปรดส่งข้อความหาเจ้าของร้านค้าสำหรับรายละเอียดการสั่งซื้อ
คำอธิบาย
เลือกวิธีการจัดส่งและการชำระเงิน
รีวิวจากลูกค้า
คำอธิบาย
ติดต่อสอบถาม คอร์สเรียนวิทยาศาสตร์  Scientia ได้ที่..

 

ปริซึม เส้นทางของแสงสีรุ้ง🌈
🙋เด็ก ๆ ซายเอนเทีย เคยสงสัยไหมคะทำไมรุ้งกินน้ำมี 7 สี มีการทดลองใดที่พิสูจน์ว่าสีรุ้งนั้นมี 7 สี วันนี้ครูมีเกร็ดความรู้มาแบ่งปันเด็ก ๆ กันค่ะ

🔦แสงขาวคืออะไร
แสงขาวหรือแสงที่มองเห็นได้ ประกอบด้วยแสงสีที่รวมกันเรียกว่า สเปกตรัม (spectrum) ประกอบด้วย 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง ส้ม แดง โดยเรียงจากสีที่มีพลังงานสูงไปสีที่พลังงานต่ำตามลำดับ

🎆ปรากฎการณ์การเกิดสเปกตรัมของแสงขาว
หากเรานำปริซึมไปวางให้แสงส่องผ่าน แสงจะเดินทางผ่านตัวกลางที่มีดัชนีหักเหแตกต่างกันและความยาวคลื่นที่ต่างกันจะหักเหด้วยมุมที่ไม่เท่ากัน เราจะมองเห็นสีแสงขาวแยกสเปกตรัมเป็นสีต่าง ๆ คล้ายสีของรุ้งนั่นเองค่ะ

💈สเปกตรัมของแสงขาว
คลื่นแสงที่ตาของมนุษย์สามารถมองเห็นได้อยู่ในช่วงประมาณ 400 - 800 nm ถ้านัยน์ตาถูกกระตุ้นด้วยแสงตลอดทั้งช่วงความยาวคลื่น (400 - 800 nm) ผลก็คือจะมองเห็นแสงนั้นเป็นแสงขาว

🧑‍🔬ไอแซค นิวตัน กับการทดลองสเปกตรัมของแสงขาว
ไอแซค นิวตัน (ค.ศ.1642 - 1726) ทำการทดลองโดยนำปริซึมไปรับแสงอาทิตย์ จะได้สเปกตรัมของแสงสีต่าง ๆ แต่เมื่อให้สเปกตรัมทั้งหมดผ่านปริซึม แสงสีทั้งหมดจะรวมกันกลายเป็นแสงขาวอีกครั้ง

🍀ทำไมเรามองเห็นใบไม้เป็นสีเขียว
สีของวัตถุเป็นอนุภาคที่อยู่บนผิววัตถุ มีสมบัติดูดกลืนแสงสีบางสีไว้และสะท้อนจากวัตถุ เช่น เราเห็นใบไม้มีสีเขียว เพราะคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นรงควัตถุที่พืชใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงดูดกลืนแสงสีอื่น ๆ ไว้และสะท้อนแสงสีเขียวออกมา

แหล่งที่มา : สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล 
เลือกวิธีการจัดส่งและการชำระเงิน

ตัวเลือกการจัดส่ง

ตัวเลือกการชำระเงิน

รีวิวจากลูกค้า
{{'product.product_review.no_review' | translate}}